เส้นทางท่องเที่ยวระนอง-เกาะสอง

เส้นทางระนอง - เกาะสอง ทีมวิจัยชุดอันดามัน ได้ทดลองเดินทางจากอ.เมือง จ.ระนอง ข้ามไปยังเกาะสอง (แผ่นดินใหญ่) ประเทศเมียนมา ในช่วงปลายเดือนตุลาคม โดยเลือกขึ้นเรือที่ท่าเทียบเรือ Grand Andaman ซึ่งต้องเสียค่าโดยสารคนละ 120 บาทในฝั่งไทย และ 30 บาทในฝั่งเมียนมา เรือโดยสารของบริษัท Grand Andaman นั้น จะเดินทางจากตัวเมืองระนองไปยังเกาะตะเทจูน (Thahtay Kyun) หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาไทยว่าเกาะสน ที่เกาะสนเป็นจุดเปลี่ยนเรือ นักท่องเที่ยวสามารถแวะชมบรรยากาศของโรงแรม หรือค้างคืนที่นี่ได้…

ระบบการขนส่งเพื่อการท่องเที่ยว – ความท้าทายสำคัญของเมียนมา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา หัวหน้าโครงการที่ 1.6 ของชุดน่าน และ 2.3 ของชุดอันดามัน ได้ลงพื้นที่สำรวจการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวผ่านด่านสิงขร และจุดผ่านแดนที่ระนอง-เกาะสอง (Kawthaung) แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติในเมียนมาที่เป็นเกาะ ยังคงความสวยงาม และมีทรัพยากรธรรมชาติที่ยังไม่ถูกค้นพบอีกจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม ข้อจำกัดสำคัญในการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างไทย-เมียนมา และภายในเมียนมาเองนั้น คือระบบการขนส่งเพื่อการท่องเที่ยว ที่ต้องอาศัยการพัฒนา และพูดคุยเพื่อหาทางออกร่วมกันทั้ง 2 ประเทศ หากระบบขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวมีคุณภาพ และมาตรฐาน การท่องเที่ยวระหว่างชายแดนไทย-เมียนมา บริเวณพื้นที่อันดามันในอนาคตก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น การจะเดินทางจากจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ฝั่งไทย ข้ามไปยังประเทศเมียนมานั้น เส้นทางผ่านด่านสิงขรถือเป็นเส้นทางหลักเพียงแห่งเดียว…

การจัดการขนส่งไทย-เมียนมา

1. ชื่อโครงการ  การเพิ่มศักยภาพการจัดการขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวข้ามแดนระหว่างไทยกับตอนใต้ของเมียนมา 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ   รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา            สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 6 อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 3. ผู้ร่วมโครงการ ประกอบด้วยบุคลากรจำนวน 4 คน จากหน่วยงานในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดังนี้ ที่ชื่อ-สกุลสังกัด ภาควิชา/คณะหน้าที่1รศ.ดร.มาโนช โลหเตปานนท์ สถาบันการขนส่งนักวิจัย(1)2ผศ.ดร.ธารทัศน์ โมกขมรรคกุลสถาบันการขนส่งนักวิจัย (2)3นางสุมาลี สุขดานนท์สถาบันการขนส่งนักวิจัย (3)4ผศ.ดร.วชิระ บุณยเนตรคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีนักวิจัย(4) 4.…

การจัดการขนส่งไทย-สปป.ลาว

1. ชื่อโครงการ การเพิ่มศักยภาพการจัดการการขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวภายในพื้นที่จังหวัดน่านและเชื่อมต่อกับ สปป.ลาว 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ            รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา             สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 6 อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 3. ผู้ร่วมโครงการ ประกอบด้วยบุคลากรจำนวน 4 คน จากหน่วยงานในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดังนี้ ที่ชื่อ-สกุลสังกัด ภาควิชา/คณะหน้าที่1รศ.ดร.มาโนช โลหเตปานนท์ สถาบันการขนส่งนักวิจัย(1)2ผศ.ดร.ธารทัศน์ โมกขมรรคกุลสถาบันการขนส่งนักวิจัย (2)3นางสุมาลี สุขดานนท์สถาบันการขนส่งนักวิจัย (3)4ผศ.ดร.วชิระ บุณยเนตรคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีนักวิจัย(4)…